วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2556

City of Angles Tournament, 2013 at Bkk

City of Angles Tournament, 2013 at Bkk

28-30 March 2013, at The Rink Arena Central plaza rama9. Team is name "Jellonas Finland" all team from finland.

1st Game. 28 March 2013. Start game and win team "Jakarta dragons" 2-6

2. Game. 29 March 2013. Have game with "Singapore" 6-0 win again

3 Game 29 March 2013 Have game with "Tokyo". This match not easy hv 5 time to play and win 6-7. Excited!!!!

4 Game 30 March 2013. Last game finish becuse lose with "mosco" team oh it very strong team but it ok. This tournament coming to final day and have party this evening i hope everybody enjoy and fun after game. Yes! Sure i enjoy to see them happy tooo!!!!



วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556

What is "Pakama"

Creative Culture: the Wonderful and Versatile Pakama

The clothing culture of Thailand has various beautiful types. But there is a significant one made from chintz that is called ‘Pakama’. The yarn dyed fabric has been a cultural symbol of Thais for more than nine hundred years. A lot of Thais are familiar with it from a young age. In the past it was worn more by men than women. There are many advantages from using Pakama. Firstly, it was able to wipe sweat, remove scurf from the body. Men liked to place it on their shoulder, tie it around the waist and carried it when they took a trip. It was not worn to be fashionable or for decoration. Secondly, it was clothing to cover the body and it usually used for the lower-part and the upper-part, if there was no prohibition in the use for the upper-part. It was comparing to a normal appliance. Thirdly, it was used mainly for people apparel or cover in the rural areas, city people remarked it as funny and out-trend. The development of the versatility of the Pakama from past to present can be seen by its use for dressing-up, taking a bath, tie around the waist, sew up to make clothes, shoes, making bed linen, pillow, sheet, towel, head-band, cradle-tie for children, protection from the sun, making beautiful stage decoration, to be a souvenir or gift. Therefore, these perceived advantages of the Pakamas have disappeared from Thai society at the present and the Pakama is seen to be strange and unfashionable. The author is interested with this cloth and would like to present its development in individual regions. The aforementioned details show the chintz being used for the versatile ‘Wonder Pakama’ by the creative thinking of Thais.


วัฒนธรรมสร้างสรรค์  มนต์เสน่ห์แห่งผืนผ้าลายตาราง
นามว่า “ผ้าขาวม้าสารพัดนึก”

วัฒนธรรมบนผืนผ้าอันสวยสดงดงามของไทย  มีมากมายหลายหลาก  แตกต่างกันออกไป  แต่อีกหนึ่งลวดลายที่โดดเด่น คือ ผ้าลายตาราง ที่ใครๆ มักเรียกขานกันว่า “ผ้าขาวม้า”  ผ้าทอลายตาราง  ผ้าทอลายนี้จัดเป็นสัญลักษณ์สัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่อยู่เคียงคู่มากับคนไทยกว่าเก้าร้อยปี   คนไทยจำนวนมากมีความใกล้ชิดกับผ้าชนิดนี้มาตั้งแต่เด็กจนโต  ผ้าขาวม้าในอดีตเป็นผ้าที่ควรคู่กับผู้ชายมากกว่าผู้หญิง  เหตุผลประการแรกเพราะ งานหลักของผ้าขาวม้าคือ ผ้าที่ใช้ขจัดสิ่งปฏิกูล เหงื่อไคลออกจากร่างกาย ผู้ชายมักใช้พาดบ่า  เคียนเอว  พกพาเวลาเดินทางไกล ไม่ใช่ผ้าที่ใช้เสริมความงาม  ประดับตกแต่งเรือนร่าง   ประการที่สอง ผ้าขาวม้าเป็นผ้าที่ใช้ในพื้นที่ส่วนตัว และมักใช้กับส่วนล่างของร่างกาย แม้นจะไม่มีข้อห้ามในการนำเอามาใช้กับส่วนบนของร่างกายก็ตาม  ผ้าขาวม้าจึงเปรียบได้กับของใช้ธรรมดาชิ้นหนึ่ง  ประการที่สาม ผ้าขาวม้าส่วนใหญ่ใช้เพื่อนุ่งห่มหรือปกปิดร่างกายของคนในแถบชนบทเสียเป็นส่วนใหญ่  คนเมืองจึงมองว่าเป็นเรื่องตลก และเชย  บัณฑิต  ปิยะศิลป์.  
 จากการนำผ้าขาวม้าไปใช้ได้สารพัดประโยชน์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  จึงทำให้เกิดการพัฒนารูปแบบการใช้ไม่ว่าจะเป็นนุ่งเล่น  อาบน้ำ   เคียนเอว  นำมาตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า  รองเท้า  ทำชุดผ้าปูที่นอน  หมอน  ผ้าห่ม  ใช้เช็ดตัว  คาดศรีษะ  ผูกเป็นเปลนอนให้กับเด็กๆ  ใช้เป็นผ้ากันแดด  ตกแต่งเวทีสวยงาม   เป็นของที่ระลึก  และเป็นของฝาก  อื่นๆ อีกมากมาย   ส่งผลต่อความคิดที่ว่าใช้ผ้าขาวม้าแล้วตลก และเชยหายไปจากสังคมไทยในปัจจุบัน   ผู้เขียนรู้สึกหลงใหลในมนต์เสน่ห์แห่งผืนผ้าลวดลายตารางที่ว่านี้  จึงอยากนำเสนอเรื่องราววิวัฒนาการของผ้าขาวม้า  พื้นที่ทอผ้าขาวม้าในแต่ละภูมิภาค  รายละเอียดดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นภาพผ้าขาวม้าลายตารางสารพัดประโยชน์  ที่พัฒนามาเป็นผ้าขาวม้าสารพัดนึกภายใต้ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทย




cr: ดร.ธีรกานต์  โพธิ์แก้ว